จักรวาลนฤมิตกับอนาคตการศึกษาไทย
บทคัดย่อ
การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาได้เข้ามามีบทบาท อย่างมากในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเทคโนโลยีกลายมาเป็นทางเลือกหนึ่งของการจัดการศึกษา ในสถานการณ์ที่ต้องงดการรวมกลุ่มเพื่อลดความสุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อ ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น แนวคิดการขับเคลื่อนการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ประโยชน์จากเกมและเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual reality) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด เมตาเวิร์สเพื่อการศึกษา (Meta-Education) โดยเฉพาะเทคโนโลยีเสมือนจริงที่ปัจจุบันกำลังได้รับ ความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลองผิดลองถูกในโลกสมมุติโดย ไม่กระทบต่อโลกจริง แม้ว่าเทคโนโลยีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ง่ายขึ้นแต่ครูก็ยังมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าเดิม ทว่าต้องปรับเปลี่ยนบทบาทจากผู้สอนกลายเป็นผู้แนะนำ พัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ควบคู่กับทักษะทางเทคโนโลยี
Downloads
References
จิราพร ประทุมชัย. (2564,17 พฤศจิกายน). ม.ขอนแก่น สุดล้ำ ยกระดับการเรียนการสอน ด้วยเทคโนโลยี Metaverse. มหาวทิยาลัยขอนแก่น. Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://th.kku.ac.th/81482/
ไชยเจริญเทค. (ม.ป.ป.). โปรแกรม CAD โปรแกรมเพื่อการออกแบบชิ้นงานในวงการอุตสาหกรรม. Retrieved 16 เมษายน 2565 from https://www.chi.co.th/article/article-968/
ธนะวัฒน์ วรรณประภา, วทัญญู วุฒิวรรณ์ และจารุวรรณ รักเริ่มวงษ์. (2563). เทคโนโลยีการศึกษากับฐานวิถีการศึกษาใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 10(3), 124-134.
ธัชชัย ตระกูลเลิศยศ. (2559,6 กันยายน). Virtual Reality เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://www.scimath.org/article/item/4818-virtual-reality
ธิติรัตน์ สมบูรณ์. (2565,15 กุมภาพันธ์). Metaverse อนาคตการศึกษาข้ามพรมแดนการเรียนรู้จากโลกจริงสู่โลกเสมือน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://www.chula.ac.th/highlight/64690/
นิกร จันภิลม, ศตพล กัลยา, ภาสกร เรืองรอง และรุจโรจน์ แก้วอุไร. (2562). เทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 304-314.
ปุณณิฐฐา มาเชค. (2562). การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพในยุค 4.0 (ศตวรรษที่ 21). “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 7(2), 41-52.
ผู้จัดการออนไลน์. (2564,18 พฤศจิกายน). กูรูชี้กระแส Crypto ปฏิวัติการลงทุนในรูปแบบเดิม แต่ต้องใช้เวลาอีกนานกว่าจะเป็นรูปธรรม. mgronline. Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://mgronline.com/stockmarket/detail/9640000114633
ภาสกร เรืองรอง, ประหยัด จิระวงพงศ์, วณิชชา แม่นยำ, วิลาวัลย์ สมยาโรน, ศรันยุ หมื่นเดช และ ชไมพร ศรีสุราช. (2557). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5 (ฉบับพิเศษ)
มติชนออนไลน์. (2564,3 ธันวาคม). ‘ราชบัณฑิตยสภา’ ประกาศอย่างเป็นทางการ บัญญัติศัพท์ Metaverse ภาษาไทย ‘จักรวาลนฤมิต’. Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://www.matichon.co.th/education/news_3070973
รักษิต สุทธิพงษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจติอล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2), 334-355.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (ม.ป.ป.). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะสาขาวิชาชีพ. Retrieved 13 กุมภาพันธ์ 2565 from http://www.thaischool1.in.th/_files_school/27012005/document/27012005_0_20150512-093836.pdf
โสภณ สกุลเรือง. (2565,15 กุมภาพันธ์). โรงเรียนอัสสัมชัญ พร้อมเปิด AC Metaverse กับการเรียนรู้แห่งโลกอนาคต. โรงเรียนอัสสัมชัญ. Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://swisplus.assumption.ac.th/html_edu/cgi-bin/report/print_picture.php?id_pic=5568
อภิชาติ รอดนิยม. (2564). เทคโนโลยีการศึกษากับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในยุคใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(9), 123-133.
BBCNews. (2564,18 ตุลาคม). เมตาเวิร์ส คืออะไร เทคยักษ์ใหญ่เจ้าไหนกำลังพัฒนาเทคโนโลยีล้ำสมัยในอนาคตนี้. BBC News ไทย. Retrieved 11 มกราคม 2565 from https://www.bbc.com/thai/international-58946076
Donghua, C. & Runtong, Z. (2022). Exploring Research Trends of Emerging Technologies in Health Metaverse: A Bibliometric Analysis. SSRN(5 January 2022), 32. https://doi.org/ http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3998068
Lee, L.-H., Braud, T., Zhou, P., Wang, L., Xu, D., Lin, Z., Kumar, A., Bermejo, C., & Hui, P. (2021). All One Needs to Know about Metaverse: A Complete Survey on Technological Singularity, Virtual Ecosystem, and Research Agenda. JOURNAL OF LATEX CLASS FILES, 14(8), 1-66. https://doi.org/10.13140/RG.2.2.11200.05124/8
Microsoft. (n.d.). Introduction to mixed reality. Retrieved 16 เมษายน 2565 from https://learn.microsoft.com/en-us/training/modules/intro-to-mixed-reality/
Mystakidis, S. (2022). Entry Metaverse. Encyclopedia, 2(1), 486-497. https://doi.org/10.3390/encyclopedia2010031
Park, S.-M. & Kim, Y.-G. (2022). A Metaverse: Taxonomy, Components, Applications, and Open Challenges. IEEE Access, 10, 4209-4251. https://doi.org/10.1109/access.2021.3140175
Phompanya, K. (2563,2 มีนาคม). เทคโนโลยีโลกเสมือน VR/AR/MR. กรมประชาสัมพันธ์. Retrieved 16 เมษายน 2565 from http://km.prd.go.th/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99-vr-ar-mr/
Techsauce, K. (2564, 2 พฤศจิกายน). Metaverse คืออะไร. Retrieved 12 กุมภาพันธ์ 2565 from https://techsauce.co/tech-and-biz/what-is-metaverse
Thaiware. (2564,30 พฤศจิกายน). Metaverse คืออะไร ? โลกใบใหม่ที่ไม่ได้ไกลตัว. Thaiware. Retrieved 12 กุมภาพันธ์ 2565 from https://tips.thaiware.com/1784.html
TNNONLINE. (2565,21 มกราคม). Metaverse คืออะไรและก้าวต่อไปที่สำคัญ TNN ONLINE. Retrieved 20 เมษายน 2565 from https://www.tnnthailand.com/news/columnist/102612/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง