การส่งเสริมให้เด็กออทิสติกฝึกกิจวัตรประจำวัน

ผู้แต่ง

  • เจริญขวัญ ศรีพันธ์ชาติ โรงเรียนสาธิตมหาวิยาลัยขอนแก่น ฝ่ายการศึกษาพิเศษ (ศูนย์วิจัยออทิสติก)

คำสำคัญ:

เด็กออทิสติก, กิจวัตรประจำวัน

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้เด็กออทิสติกได้ฝึกกิจวัตรประจำวัน ที่ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแล สามารถนำไปใช้กับเด็กออทิสติก โดยผู้แต่งได้ศึกษาจากเอกสารตำราต่างๆ จากผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพิเศษและด้านปฐมวัยทำให้สามารถนำแนวทางที่ศึกษามาพัฒนาและส่งเสริมกิจวัตรประจำวันของเด็กออทิสติก โดยได้ศึกษาพัฒนาการแต่ละขั้นของช่วงอายุเพื่อจะได้ฝึกเด็กออทิสติกได้อย่างมีความสุข การได้ทราบและเรียนรู้พัฒนาการแต่ละขั้นนั้นทำให้มีแรงบันดาลใจในการฝึกและเห็นพัฒนาการการฝึกกิจวัตรประจำวันของเด็กออทิสติกได้อย่างชัดเจนซึ่งกิจกรรมพื้นฐานที่ฝึกได้แก่การรับประทานอาหาร การอาบน้ำ การแต่งกาย การขับถ่ายปัสาสวะ และการขับถ่ายอุจจาระ ซึ่งเป็นกิจกรรมพื้นฐานของการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเพื่อให้เด็กออทิสติกสามารถช่วยเหลือตัวเองให้มากที่สุดโดยไม่เป็นภาระของผู้อื่น

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2548). คู่มือการดูแลเด็กออทิสติกแบบบูรณาการ เล่ม 2 กิจกรรมการฝึกเด็กออทิสติก. พิมพ์ครั้งที่ 3. เชียงใหม่ : หจก.สมพรการพิมพ์.

เจริญขวัญ มูลน้อย. (2557). การศึกษาผลการใช้ชุดฝึกกิจวัตรประจำวันของนักเรียนที่มีภาวะออทิสซึมด้วยหลักการวิเคราะห์งาน : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น

เจริญขวัญ ศรีพันธ์ชาติและคณะ. (2564). หลักสูตรการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสำหรับนักเรียนที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม ในระดับอนุบาลศึกษา : สถาบันวิจัยและบริการออทิซึม มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จันทร์เพ็ญ สุภาผล. (2548). การศึกษาพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้ฟังนิทานประกอบดนตรีและนิทานประกอบภาพควบคู่กับกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมช่วยเหลือตนเอง. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ณัฐวรดา มณีรัตน์. (2550) . การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

นิติธร ปิลวาสน์. (2556). การพึ่งพาตนเอง (Independent). นครศรีธรรมราช: สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2.

พินิต วัณโณ. (2536). เทคนิคการผลิตสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ.

เริงลักษณ์ มหาวินิจฉัยมนตรี. (2517). การใช้ภาพในการสอนคำศัพท์ภาษาไทยในโรงเรียนชนบทชั้นประถมศึกษาตอนต้น.วิทยานิพนธ์, ค.ม. : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาวิณี พวงผกา. (2542). ผลการใช้กระดานชุดต่อภาพเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดนาวง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Edition.

สมพร หวานเสร็จ. (2552). การพัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติกโดยใช้สื่อสนับสนุนการเรียนรู้ผ่าน การมอง. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาธรรม.

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2549). ทฤษฎีและการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หน่วยศึกษานิเทศก์. (2536). คู่มือนิเทศการศึกษา กรมสามัญศึกษา.

อุมาพร ตรังสมบัติ. (2545). ช่วยลูกออทิสติกคู่มือสำหรับพ่อแม่ผู้ไม่ยอมแพ้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร ซันต้าการพิมพ์.

Gesell, Avnold L. (1942). Infant and Child in the Culture of Today. New York: Harper & Brothers Publishers.

Wittich, W.A. and C.F. Schuller. (1957). Audio – Visual Materials. 2ad. New York : Harper and Brothers Publisher.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-18