นโยบายสาธารณะด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การขับเคลื่อนเป้าหมาย SDG สู่การปฏิบัติ
คำสำคัญ:
นโยบายสาธารณะ, การศึกษา, การพัฒนาที่ยั่งยืน , เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน, การศึกษาที่มีคุณภาพบทคัดย่อ
การขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDG) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ที่กำหนดโดยองค์การสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2558 เป็นกรอบแนวทางเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายรวม 17 เป้าหมาย อาทิ การขจัดความยากจน การจัดการน้ำอย่างยั่งยืน และการศึกษาอย่างมีคุณภาพ การขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายเหล่านี้ มีแนวทางการดำเนินการเพื่อให้เป้าหมาย SDG 4 การศึกษาที่มีคุณภาพบรรลุผลสำเร็จ ประกอบด้วย 1) แนวคิดนโยบายสาธารณะด้านการศึกษา 2) หลักการและแนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3) การขับเคลื่อนเป้าหมาย SDG ด้านการศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และ 4) การขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืนตามเป้าหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ ด้วยการบูรณาการนโยบายสาธารณะด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ซึ่งจากแนวการดำเนินการ พบว่า 1) มีเป้าหมายเพื่อสร้างหลักประกัน 5 ประการ และเพื่อขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศด้านการศึกษา และสร้างหลักประกันว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมถึงผู้พิการ ชนพื้นเมือง และเด็ก เข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียม ภายในปี พ.ศ. 2573 2) มีนโยบายสาธารณะด้านการศึกษาที่สอดคล้องกับเป้าหมาย SDG 4 การศึกษาที่มีคุณภาพ ได้แก่โครงการเรียนฟรี 12 ปี ที่เน้นการลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษา หรือแผนการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพครูที่มุ่งพัฒนาครูให้ทันสมัยและสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย 3) การขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืนตามเป้าหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ ด้วยการบูรณาการนโยบายสาธารณะด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ ระบุปัญหา กำหนดนโยบายสาธารณะด้านการศึกษา เชื่อมโยงเป้าหมาย SDG 4 การศึกษาที่มีคุณภาพ 4) กำหนดตัวชี้วัดในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 5) กำหนดแนวทางการดำเนินงานสู่การปฏิบัติ และ 6) กำหนดผู้รับผิดชอบทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ
Downloads
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). รายงานการศึกษาด้านการศึกษาของประเทศไทย: การศึกษาเพื่อความยั่งยืน.
ณรงค์ฤทธิ์ สัมพันธ์วงศ์. (2563). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ในศตวรรษที่ 21: ความสำคัญและการบูรณาการในหลักสูตรการศึกษา. วารสารการศึกษาและพัฒนา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2565). การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย. สำนักพิมพ์การศึกษา.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2018). แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2022). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570).
สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.). (2564). SDGs คืออะไรมารู้จัก 5 เป้าหมายแรกจากมิติสังคม. เอกสารอิเล็กโทรนิกส์.
สุภาวดี ศิริโยธา. (2564). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ในประเทศไทย: แนวทางและความท้าทาย. วารสารการศึกษาและการพัฒนา.
Anderson, J. E. (2021). Public Policymaking. Cengage Learning.
Bauman, Z. (2021). Education in the Age of Uncertainty: A New Approach to Lifelong Learning. Routledge.
Council of Ministers of Education. (2010). Backgroud – Developing a Pan-Canadian ESD Framework for Collaboration and Action. Ontario: CMEC.
Chisholm, L., & Leyendecker, R. (2019). Education and sustainable development: Achieving the sustainable development goals through education. International Journal of Educational Development, 65, 135-145.
Global Education Monitoring Report. (2021). Global education monitoring report 2021: 2022 edition. UNESCO.
Huang, J. (2020). The impact of education on economic growth: An analysis of developing countries. Journal of Economic Development, 45(3), 1-25.
International Panel on Climate Change (IPCC). (2021). Climate change 2021: The physical science basis.
Mazzucato, M. (2018). Mission economy: A moonshot guide to changing capitalism. The Penguin Press.
McCowan, T. (2022). Education, Development, and the Sustainable Development Goals: A Global Perspective. Routledge.
Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). (2019). Trends shaping education 2019. OECD Publishing
Ostrom, E. (2019). Governing the commons: The evolution of institutions for collective action. Cambridge University Press.
Porter, M. E. (2019). Creating shared value: Competitive advantage through social impact. Harvard Business Review.
Reimers, F. & Schleicher, A. (2020). Education in a crisis: The impact of COVID-19 on education systems around the world. OECD.
Rockström, J., Steffen, W., Noone, K., Persson, Å., Chapin, F. S., Lambin, E. F., ... & Foley, J. A. (2009). A safe operating space for humanity. Nature, 461(7263), 472-475
Raworth, K. (2017). Doughnut economics: Seven ways to think like a 21st-century economist. Chelsea Green Publishing.
Sachs, J. D. (2019). The age of sustainable development. Columbia University Press.
Sachs, J. D. (2020). The Age of Sustainable Development. Columbia University Press.
Sen, Amartya (2000). Development as freedom. Anchor Books.
Sterling, S. (2020). Sustainability Education: Perspectives and Practice Across Higher Education. Earthscan.
The National Economic and Social Development Board. (2017). The National Strategy (2017-2036). Bangkok: The Secretariat of the Prime Minister. (In Thai)
Tilbury, D. (2011). Education for sustainable development: An overview. International Journal of Sustainability in Higher Education, 12(2), 140-153.
UNESCO Institute for Lifelong Learning. (2022). Lifelong learning and education for sustainable development. UNESCO.
UNESCO. (2020). Education and COVID-19: The impact of the pandemic on education systems. UNESCO.
UNESCO. (2020). Education for sustainable development: A global perspective.
UNESCO. (2021). Education for sustainable development: Towards achieving the sustainable development goals. UNESCO.
UNESCO. (2021). The state of the world’s biodiversity for food and agriculture 2021.
UNESCO. (2022). Global education monitoring report 2022: 2023 edition. UNESCO.
United Nations. (2015). Transforming our world: The 2030 agenda for sustainable development.
United Nations. (2020).The sustainable development goals report 2020. https://unstats.un.org/SDG/report/2020/
Waldron, J., Stokes, R., & Davidson, J. (2021). Preparing students for the future: The importance of education for sustainable development. Journal of Environmental Education, 52(3), 215-229.
Wals, A. E. J. (2018). Sustainability in higher education: From the imperative to the action. Higher Education Policy, 31(1), 97-110.
World Health Organization (WHO). (2021). World health statistics 2021: Monitoring health for the SDG.
World Resources Institute. (2020). Sustainable energy for all: The role of energy access in achieving the SDG.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง