การจัดการเรียนรู้เชิงรุก: แนวทางการศึกษาสู่คุณภาพ เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก, แนวทางการศึกษาสู่คุณภาพ, ทักษะในศตวรรษที่ 21บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายในการนาเสนอแนวทางการศึกษาและหลักการของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีความหมายและมีประสิทธิภาพในบริบทการศึกษาศตวรรษที่ 21 โดยบทความนี้ จะเริ่มต้นด้วยการอธิบายความสาคัญของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคที่การศึกษาได้รับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาบุคคลและสังคมในยุคเทคโนโลยี และเป็นแนวทางที่ช่วยพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ การปรับระบบการศึกษาของไทยให้สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาแห่งชาติจึงมีความสาคัญต่อการสร้างโอกาสและคุณภาพการศึกษาอย่างเท่าเทียม ทั้งนี้บทความแนวคิดทางวิชาการและมุมมองของผู้เขียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกสู่การปฏิบัติห้องเรียนคุณภาพในศตวรรษที่ 21 และ 2) การบูรณาการเรียนรู้เชิงรุกสู่การพัฒนาคุณภาพทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่ครอบคลุมกระบวนการและสามารถไปประยุกต์การจัดการเรียนรู้ผ่านการคิด วิเคราะห์ และการปฏิบัติจริงเพื่อสร้างสรรค์ห้องเรียนและการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพให้แก่ผู้สอนและผู้เรียนได้รับส่งเสริมทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้เชิงรุกสู่การปฏิบัติห้องเรียนคุณภาพในศตวรรษที่ 21 ได้สะท้อนให้เห็นถึง การเรียนรู้เชิงรุกด้วย 4 แนว ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมต่าง ๆ 2) การเรียนรู้จากประสบการณ์ สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีกับการปฏิบัติจริงได้ 3) การพัฒนาทักษะคิดวิเคราะห์ และ 4) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ รวมทั้งการบูรณาการเรียนรู้เชิงรุกสู่การพัฒนาคุณภาพทักษะในศตวรรษที่ 21 ใช้กรอบแนวคิดสูตร 3R x 7C เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะด้านความรู้และทักษะทางอารมณ์ในลักษณะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก วิธีการวัดและการประเมินผล ผลผลิต และผลลัพธ์ ผ่านวิธีการจัดการเรียนรู้ 5 รูปแบบ ได้แก่ 1) การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน 2) การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ 3) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 4) การเรียนรู้จากการสืบค้น และ 5) การเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ดังนั้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเป็นแนวทางสู่การศึกษาคุณภาพในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะต่างๆ ที่จาเป็นและทันสมัย มีความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้ต่อเนื่อง เป็นผู้เรียนที่มีคุณภาพและเพื่อให้สามารถแข่งขันและเจริญเติบโตในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
Downloads
References
ทิศนา แขมมณี (2565). การใช้การเรียนรู้เชิงรุกในระบบการศึกษาไทย. วารสารการศึกษาวิจัย, 15(3), 98-112.
ทิศนา แขมมณี (2565). การเรียนรู้เชิงกิจกรรม: สร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ในยุค 4.0. วารสารการศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 10(1), 45-58.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (พ.ศ. 2562). (2562). ราชกิจจานุเบกษา, 136(50 ง), 1-30.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2560). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Baker, J. A., & Garrison, D. R. (2020). Creating a Culture of Active Learning: Practical Strategies for Higher Education. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education, 32(2), 276-287.
Barrow, H. S. (2019). Problem-Based Learning in Education for the Health Professions. Springfield, IL: Southern Illinois University.
Barrow, M. (2020). The Impact of Active Learning Strategies on Student Engagement and Learning Outcomes in Higher Education. Higher Education Research & Development, 39(4), 723-736.
Boud, D., & Walker, D. (2022). Promoting Reflection in Professional Courses: The Role of Experiential Learning. Higher Education, 83(4), 733-750.
Dewey, J. (2022). Experience and Education. Touchstone.
Freeman, S., Eddy, S. L., McDonough, M., Smith, M. K., Wenderoth, M. P., & Crowe, A. (2014). Active Learning Increases Student Performance in Science, Engineering, and Mathematics. Proceedings of the National Academy of Sciences, 111(23), 8410-8415.
Furtak, E. M., & Toth, E. (2020). A Conceptual Framework for Inquiry-Based Learning in Science Education. Journal of Research in Science Teaching, 57(2), 166-189.
Garrison, D. R., & Akyol, Z. (2020). Understanding Collaborative Learning in a Networked Environment. International Review of Research in Open and Distributed Learning, 21(4), 14-34.
Gulley, L. (2019). Strategies for Implementing Active Learning in STEM Education. Journal of STEM Education Research, 10(2), 1-16.
Hattie, J., & Donoghue, G. (2016). Learning Strategies: A Synthesis of Over 800 Meta-Analyses Relating to Achievement. Houghton Mifflin Harcourt.
Hung, W. (2021). Problem-Based Learning: A Review of the Research. Education Research International, 2021, Article ID 4624782.
Jacobs, J. (2022). Curriculum 21: Designing Curriculum for the 21st Century. Journal of Curriculum Studies, 54(1), 1-14.
Kolb, D. A. (2020). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. Pearson.
Mayer, R. E. (2023). Learning strategies: A cognitive approach. Educational Psychology Review, 35(2), 345-370.
McGuinness, C. (2018). The Importance of Experiential Learning in Higher Education. Teaching in Higher Education, 23(5), 523-534.
McMahon, T., Haggis, T., & Evans, C. (2021). Adapting Teaching Strategies for Digital Learning Environments. Journal of Higher Education Teaching and Learning, 8(2), 120-135.
Meyer, K. A., et al. (2021). Technology as a facilitator of active learning in higher education: A systematic review. Journal of Higher Education Research, 45(2), 145-162.
Nguyen, H. T., & Hsiao, Y. (2021). Active Learning in Higher Education: Improving Critical Thinking Skills. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education, 33(2), 189-201.
Raelin, J. A. (2021). The Role of Reflection in Experiential Learning: Lessons from Leadership Education. Academy of Management Learning & Education, 20(3), 311-325.
Savin-Baden, M. (2020). Problem-Based Learning in Higher Education: How to Plan, Implement, and Evaluate. Journal of Higher Education Policy and Management, 42(1), 31-45.
Schmidt, H. G. (2018). Problem-Based Learning: What Is It and How Does It Work? Clinical Teacher, 15(3), 200-206.
Smith, C., & Gyllenhaal, K. (2022). The Role of Inquiry in Science Education: A Framework for Teaching and Learning. Science Education, 106(1), 32-55.
Terenzini, M. A. (2021). Active Learning and Its Impact on Student Success in Higher Education. Journal of College Student Development, 62(1), 1-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง