กฎหมายสิทธิมนุษยชน กับการวิเคราะห์ พ.ร.บ อุ้มหายในประเทศไทย

Main Article Content

บุญเพ็ง สิทธิวงษา
ไกรสร เดชสิมมา

บทคัดย่อ

พรบ อุ้มหาย สิทธิมนุษยชนหรือกติกา อนุสัญญา ข้อตกลงต่างๆ ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ทุกประเทศทั่วโลกให้การรับรองเพื่อสื่อให้เห็นถึงอุดมการณ์ของผู้ปกครองที่ชี้ให้เห็นว่า การนําหลักการทางคําสอนทางพุทธศาสนามาปกครอง การตัดสินปัญหาทางด้านคดีของประชาชนและทางบ้านเมืองนั้น มักนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ โดยไม่ใช้การลงโทษอย่างหนัก แต่ใช้การลงโทษแบบลหุโทษ ผ่านคําสอนเรื่องนรก - สวรรค์มาช่วยเพื่อให้เกิดความกลัว ให้เห็นถึงผลของการกระทําความผิดนั้น ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของคนในชุมชนก็จะเกิดขึ้นได้ โดยไม่มีการแบ่งแยกชนชั้นแต่อย่างใด หรือชาวโลกตระหนักถึงความยุติธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา ก็จะยิ่งส่งเสริมให้สังคมเหล่านั้นเต็มไปด้วยความผาสุก ร่มเย็น อันเนื่องมาจากฐานความเชื่อเรื่องผลแห่งกรรม ทั้งยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงจารีตประเพณีอันดีงามที่ปฏิบัติต่อกฎหมายสิทธิมนุษย์ชนต่อความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของประชาชน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กุลพล พลวัน. (2543). สิทธิมนุษยชนในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจํากัดภาพพิมพ์.

จรัญ โฆษณานันท์. (2545). สิทธิมนุษยชนไร้พรมแดน ปรัชญา กฎหมาย และความเป็นจริงทางสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์นิติธรรม.

ชะวัชชัย ภาติณธุ. (2548). กระบวนการเรียนรู้และปฏิบัติการณ์สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2549). ความเป็นมาของทฤษฎี "แบ่งแยกดินแดนในภาคใต้ไทย". กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บรรเจิด สิงคะเนติ. (2558). หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.

มานะ สิมมา. (2566). พ.ร.บ. อุ้มหาย สิทธิมนุษยชน. สืบค้นจาก https://www.nationtv.tv/politic/378918274.

วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. (2543). สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์วิญญูชน.

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2554). หลักกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไปเกี่ยวกับสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: บริษัท สหมิตรพริ๊นติ้ง.

อุดม รัฐอมฤต และคณะ. (2544). การอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตาม มาตรา 28 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจํากัด นานา สิ่งพิมพ์.

Carlin, J. E., Howard, J., & Messinger, S. L. (1966). Civil Justice and the Poor-Issues for Sociological Research. Law and Society Review, 1, 9-90.

Caterina Gouvis Roman, Gretchen E. Moore, Susan Jenkins, & Kevonne M. Small. (2002). Understanding community justice partnerships: Assessing the capacity to partner. Washington, DC: Urban Institute, Justice Policy Center.

Feinberg, J. (1986). Offense to others: The moral limits of the criminal law, Vol. 2. Law and Philosophy, 5(1), 113-120.

Karp, D. R., & Clear, T. R. (2000). Community justice: A conceptual framework. Criminal justice, 2(2), 323-368.

McCold, P. & Washtel, T. (1996). Restorative justice and the role of community. In B. Galaway & J.Hudson (Eds.), Restorative Justice: International Perspectives (pp. 85-101). Monsey, NY: Criminal Justice Press.

Mill, J. S. (1970). The Subjection of Women. Cambridge: M.I.T Press.

Rawls, John B. (1971). A Theory of Justice. Cambridge: MA, Harvard University Press.

United Nations Human Rights Council. (2018). Office of the high commissioner, what are human rights. Geneva: United Nations Human Rights Council.