ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออมเงินของข้าราชการสำนักงบประมาณกลาโหม

ผู้แต่ง

  • สุรสิทธิ์ วันทาเขียว
  • ณัฐวุฒิ ฮันตระกูล

คำสำคัญ:

พฤติกรรม, การออมเงิน, ข้าราชการสำนักงบประมาณกลาโหม

บทคัดย่อ

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน กับพฤติกรรมการออมเงินของข้าราชการ สำนักงบประมาณกลาโหม และความรู้ความเข้าใจการออมเงิน ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออมเงินของข้าราชการ สำนักงบประมาณกลาโหม ผู้วิจัยเลือกข้าราชการ สำนักงบประมาณกลาโหมเป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 172 คน โดยใช้วิธีการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ (Percentage), ค่าความถี่ (Frequency), ค่าเฉลี่ย (Mean), ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation), สถิติ t-test, สถิติ F-test และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ที่ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง เป็นนายทหารชั้นประทวน มีช่วงอายุระหว่าง 26 - 33 ปี ซึ่งปัจจุบันมีสถานภาพโสด มีการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 15,001 - 20,000 บาท เป็นข้าราชการฝ่ายปฏิบัติการ คิดเป็นร้อยละ 84.6 และมีอายุราชการอยู่ที่ระหว่าง 4 - 6 ปี ความรู้ความเข้าใจด้านการออมเงิน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.82) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านความรู้ความเข้าใจการออมไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน (3.94) รองลงมาคือ ด้านความรู้ความเข้าใจการออมไว้ใช้จ่ายฉุกเฉิน (3.91) รองลงมาคือ ด้านความรู้ความเข้าใจการออมเพื่อพัฒนาตนเอง (3.79) รองลงมาคือ ด้านความรู้ความเข้าใจรูปแบบการออมเงิน (3.75) และน้อยที่สุด คือ ด้านความรู้ความเข้าใจการออมเพื่อการลงทุน (3.71) ตามลำดับ และพฤติกรรมการออมเงิน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (3.24) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านเป้าหมายในการออม (Why) (3.82) รองลงมาคือ ด้านสถานที่ในการออม (Where) (3.37) รองลงมาคือ ด้านประเภทการออม (What) (3.17) รองลงมาคือ ด้านการส่งเสริมการออม (How) (3.16) รองลงมาคือ ด้านผู้มีอิทธิพลต่อการออม (Who) (3.00) และน้อยที่สุด คือ ด้านช่วงเวลาในการออม (When) (2.89) ตามลำดับ

References

กนกวรรณ ศรีนวล. (2558). การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการลงทุน และแรงจูงใจในการ ลงทุน ที่มีผลต่อ การตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.

กมลวัณย์ มีถาวร. (2562). ทักษะการออมและรูปแบบการออมของข้าราชการครูกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กรวินทร์ กรประเสริฐวิทย์. (2557). ทัศนคติความรู้ความเข้าใจ พฤติกรรม และคุณลักษณะการใช้งาน ของ เทคโนโลยี ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการใช้เครื่องชำระค่าโทรศัพท์อัตโนมัติของ ประชาชนใน กรุงเทพมหานครปี 2558. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.

กษิดิ์เดช เจริญวงษ์ และ ไสว เทศพันธ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออมของนักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ปริญญานิพนธ์ คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.

กาญจนา หงส์ทอง. (2551). เข็มทิศการเงิน.กรุงเทพมหานคร: บิสบุ๊ก.

กิจติพร สิทธิพันธุ์. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการส่วนบุคคลของประชาชนใน กรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

คฑาวุธ สิทธิโชคสกุล. (2557). แรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของครูโรงเรียนใน เครือมูลนิธิคณะ เซนต์คาเบียลแห่งประเทศไทย. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

คฑาวุธ สิทธิโชคสกุล. (2557). แรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของครูโรงเรียนใน เครื อมูลนิธิคณะ เซนต์คาเบียลแห่งประเทศไทย. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จันทะสุก ลาดสะอาด. (2561). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการออมส่วนบุคคลของคนวัยทำงานใน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว." วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 11: 126.

จันทะสุก ลาดสะอาด โรจนา ธรรมจินดา และ สุจรรย์พินธ์ สุวรรณพันธ์. (2561). "ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรม การออมส่วนบุคคลของคนวัยทำงานในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว."วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่1, 11: 125-135.

จันทะสุก ลาดสะอาด โรจนา ธรรมจินดา และ สุจรรย์พินธ์ สุวรรณพันธ์. (2561). "ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรม การออมส่วนบุคคลของคนวัยทำงานในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว."วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่1, 11: 125-135.

จันทะสุก ลาดสะอาด. (2561). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการออมส่วนบุคคลของคนวัยทำงานในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว." วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 11: 126.

จิรัตน์ สังข์แก้ว. (2564). รู้วิเคราะห์เจาะเรื่องหุ้น. เข้าถึงเมื่อ 12กุมภาพันธ์ 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.set.or.th/dat/setbooks/e-book/25.pdf

ชนาภา หันจางสิทธิ์. (2559). คู่มือการวิเคราะห์หุ้นแบบง่ายๆด้วย EXCEL ฉบับมือใหม่หัดลงทุน. 109 กรุงเทพหมา นคร: ไอดีซี พรีเมียร์.

ชลธิชา จุ้ยนาม. (2558). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีวินัยทางการเงินของนิสิตระดับปริญญา ตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์และชุมชน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชนาภา หันจางสิทธิ์. (2559). คู่มือการวิเคราะห์หุ้นแบบง่ายๆด้วย EXCEL ฉบับมือใหม่หัดลงทุน. 109 กรุงเทพหมา นคร: ไอดีซี พรีเมียร์.

ชลธิชา จุ้ยนาม. (2558). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการมีวินัยทางการเงินของนิสิตระดับปริญญา ตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ พัฒนาทรัพยากร มนุษย์และชุมชน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชัววัลลี. (2537). "พฤติกรรมศาสตร์ในแง่มุมของจิตวิทยา."วารสารพฤติกรรมศาสตร์1, 1: 53-59.

ชาญศิลป วาสบุญมา. (2546). แรงจูงใจและความต้องการความสมหวังในชีวิต ของการเป็น คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้น พื้นฐาน. ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ. (2523). การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพหมานคร: โอ เดียนสโตร์.

ญาณิศา เผื่อนเพาะ. (2557). "การให้ความหมาย รูปแบบและกระบวนการออมของนักศึกษาระดับ มหาบัณฑิต สาขาการประกอบการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร." วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7: 251-266.

ณฐมน เพิ่มสุขและ นภาพร นิลาภรณ์กุล. (2562). ทักษะทางการเงินที่ส่งผลต่อความมั่งคั่งทางการเงิน ของกลุ่ม วิชาชีพครูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ณภัชศา ธาราชีวิน. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการออมเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณ. บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต. สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ณัฐพร แป้นทองคำ สุภาสิณี นุ่มเนียน. (2559). "ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมีวินัยทางการเงินของ นิสิตระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน." Veridian EJournal, 2: 1890-1900.

ทรรศนันทน์ ตรีอิทธิฤทธิกุล. (2562). ทักษะการเงินของประชากรไทย. การศึกษาอิสระ ปริญญา นิพนธ์ สาขาการเงินและการธนาคาร คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ทรายทอง เลิศเปียง. (2557). "พฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล ของนักศึกษาสาขาการ บัญชี คณะ บริหารธุรกิจ โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี." วารสารวิชาการ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ 4, 6: 15-24.

ปานแก้วตา ลัคนาวานิช และวิลาวัลย์ ดึงไตรย์ภพ. (2018). "ทักษะทางการเงินของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว พันธุ์พื้นเมืองในเขตลุ่มน้ำ ปากพนัง." มหาวิทยาลัย วิลัยลักษณ์, 7:113.

ทัศนาวลัย ตันติเอกรัตน์. (2559). "การศึกษาพฤติกรรมการเข้าเรียนกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาการ คิดและ การตัดสินใจของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์ตรัง."การประชุมหาดใหญ่ วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 7: 1035-1046

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). การวิจัยตลาด.กรุงเทพมหานคร: ไทย วัฒนาพานิช.

ธงชัย สันติวงษ์. (2539). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด.กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

ธงชัย สันติวงษ์. (2539). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด.กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

ธนพร จันทร์สว่าง. (2561). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสยาม ." NATIONAL ACADEMIC CONFERENCE OF 2019, 11: 154-160.

ธนพร จันทร์สว่าง. (2561). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของ นักศึกษา ระดับ ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสยาม ." NATIONAL ACADEMIC CONFERENCE OF 2019, 11: 154-160.

ธนันธร มหาพรประจักษ์. (2563). เริ่มต้นการออมกับปณิธานปี ใหม่. เข้าถึงเมื่อ 16 พฤษภาคม2563.

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน). (2563). ทักษะการเงินของคนไทย.กรุงเทพมหานคร: ธนาคารแห่งประเทศ ไทย.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2556). ทักษะการเงินของคนไทย.กรุงเทพมหานคร: ธนาคารแห่งประเทศ ไทย.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). รายงานนโยบายการเงิน มีนาคม 2563. กรุงเทพมหานคร: ธนาคาร แห่งประเทศ ไทย.

ธิดารัตน์ อติชาตนันท์ และ แพรวพรรณ มังคลา. (2554). การวางแผนการเงินเพื่อเตรียมการเกษียณอายุ ของ พนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. ปริญญานิพนธ์สาขาวิชาการจดัการธุรกิจทั่วไป คณะ วิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นเรศ หนองใหญ่. (2560). พฤติกรรมการออมของประชาชนในเชตพื้นที่พัทยา จังหวัด ชลบุรี. หลักสูตรปริญญา ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิภาพันธ์ พูนเสถียรทรัพย์. (2563). คนไทยพร้อมแค่ไหน เรื่องจัดการเงิน.

นิศารัตน์ ศิลปเดช. (2542). เอกสารคำสอนระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้นกรุงเทพมหานคร: สถาบันราช ภัฏธนบุรี.

เนษพร นาคสีเหลือง. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการออมเพื่อเตรียมความพร้อมการเกษียณอายุของ พนักงานธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่. ปริญญามหาบัณฑิต คณะ บริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี. บิสบุ๊ก.

กิจติพร สิทธิพันธุ์. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการส่วนบุคคลของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

บุญรุ่ง จันทร์นาค. (2554). การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล.

เบญจวรรณ บุญคลี่. (2552). ปัจจัยที่มผลต่อพฤติกรรมการมีวินัยทางการเงินของครูกรณีศึกษา ครูใน 111 เขตพื้นที่ การศึกษานครปฐม เขต 2. หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอ้ม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ปพิชญา บุญศรี. (2555). พฤติกรรมการออม และปัจจัยที่ส่งผลต่อการออม และรูปแบบการออมของ ครัวเรือนในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ . ปริญญานิพนธ์ คณะ เศรษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2520).การวัด การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพมหานคร:

ปพิชญา บุญศรี. (2555). พฤติกรรมการออม และปัจจัยที่ส่งผลต่อการออม และรูปแบบการออมของ ครัวเรือนในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่. ปริญญานิพนธ์คณะเศรษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2520).การวัด การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพมหานคร: ไทย วัฒนาพานิช.

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). การวิจัยตลาด.กรุงเทพมหานคร: ท้อป.

ปานแก้วตา ลัคนาวานิช และวิลาวัลย์ ดึงไตรย์ภพ. (2018). "ทักษะทางการเงินของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว พันธุ์พื้นเมืองในเขตลุ่มน้า ปากพนัง". มหาวิทยาลัย วิลัยลักษณ์, 7:113.

ปิยรัตน์ กฤษณามระ และคณะ. (2554). "พฤติกรรมการออมและปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบการออมของผู้ออมในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล." จุฬาลงกรณ์ธุรกจิปริทัศน์33, 129: 93-119.

พรทิพย์ บุญนิพัทธ์. (2531). ทัศนคติ.กรุงเทพมหานคร: น.ไทยวัฒนาพานิช.

พายัพ ขาวเหลือง. (2548). การวางแผนและบริหารเงินส่วนบุคคล ด้วย Excel.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เคทีพี.

พิกุล ปัญญา. (2554). เรื่องของพฤติกรรมการออม และปัจจัยที่ส่งผลต่อการออมของเจ้าหน้าที่ การตลาดบริษัท หลักทรัพย์. หลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์การจัดการ. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

พิทักษ์ ศรีสุขใส. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการออมในกองทุนการออมแห่งชาติของผู้ประกอบอาชีพ อิสระ ในอำเภอ เมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่. เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์. 112 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พีรพัฒน์ อำพล. (2557). ความรู้ทางการเงินและพฤติกรรมการออมเงินส่งผลต่อการวางแผนเพื่อการ เกษียณ กรณีศึกษากลุ่มคนวันทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เพชรี ขุมทรัพย์. (2540). หลักการลงทุน.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มณฑานี ตันติสุข. (2557). เงิน : เรื่องใหญ่ที่โรงเรียนไม่เคยสอน. กรุงเทพมหานคร: ออฟฟิตเมท. มูลนิธิสถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2563).

รุ่งกานต์ แก้วเจริญ. (2561)." แรงจูงใจและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการ ร่วมงานฟูลมูน ปาร์ตี้เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี." วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี13, 3: 148- 149.

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และ อัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์กีการ พิมพ์.

วิกรานต์ เผือกมงคล. (2560). ความรู้ทางการเงินของประชาชนจังหวัดปทุมธานี. ปริญญานิพนธ์ สาขาวิชาการ บริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. วิลาสลักษณ์

วิกรานต์ เผือกมงคล. (2560). ความรู้ทางการเงินของประชาชนจังหวัดปทุมธานี. ปริญญานิพนธ์ สาขาวิชาการ บริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.

วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี. (2537). "พฤติกรรมศาสตร์ในแง่มุมของจิตวิทยา."วารสารพฤติกรรมศาสตร์1, 1: 53-59.

วิไลลักษณ์ เสรี ตระกูล. (2557). "ปัจจัยในการทำนายพฤติกรรมการออมของนักศึกษาในเขต กรุงเทพมหานคร." วารสารสุทธิปริทัศน์, 28: 300-315.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). แนวโน้มเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทย ในช่วงครึ่งปี หลังของปี 2563. ปี ที่ 12 ฉบับที่ 3. สมาคมนักวางแผนการเงินไทย. (2558).

สฤณี อาชวานันทกุ ล . (2552). ภูมิทัศน์เศรษฐกิจโลกใหม่และการปรับตัวของคนไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักพิมพ์กีการพิมพ์.

สุขใจ น้ำผุด. (2551). กลยุทธ์การบริหารการเงินบุคคล. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุชาดา สุขบำรุงศิลป์ . (2553). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนวิศวกรรมแหลมฉบังจังหวด ชลบุรี. ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุดารัตน์พิมลรัตน กานต์นฤมลจิตรเอื้อ และธีระวัฒน์จันทึก. (2560). "ปัจจัยแรงจูงใจในการออม สภาพแวดล้อมในการออมและทัศนคติการออมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออมของนักศึกษา วิทยาลัยโลจิสติก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา."วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 8:1-16.

สุพพตา ปิยะเกศิน. (2546). การเงินส่วนบุคคล.กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2539). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อธิต มิวะศะศิธร์. (2563). "ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางการเงินของผู้มีงานทาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย." SOUTHEAST BANGKOK JOURNAL, 6.

อรุณี นุสิทธิ์. (2561). "ความรู้ทางการเงินของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ในมหาวิทยาลัยราช ภัฏพิบูล สงคราม."การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่6, 609-619.

อี ไอ ซี ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน). (2563). Outlook quarter 2 2020.กรุงเทพมหานคร: ธนาคารไทย พาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

อุทันรัตน์ เมืองแสน. (2561). "การพัฒนาตัวแบบในการจัดการการเงินส่วนบุคคลของข้าราชการ กองทัพเรือไทย." วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 4: 100.

อุทันรัตน์ เมืองแสน. (2561). "การพัฒนาตัวแบบในการจัดการการเงินส่วนบุคคลของข้าราชการ กองทัพเรือไทย." วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 4: 100.

D Power_of_Interests Likert, R. (1961). New pattern of management. New York: Mc Graw-Hill. 114 Schiffman, Leon G.,

Kanuk, & Lazar, L. (2007). Consumer Behavior (9 ed.). New Jersey: USA.

Christopher D. Carroll. (2001) . Likert, R. (1961). New pattern of management. New York: Mc Graw-Hill. 114 Schiffman, Leon G., Kanuk, & Lazar, L. (2007). Consumer Behavior (9 ed.). New Jersey: USA.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

15-12-2024