ปัญหาในการปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน

ผู้แต่ง

  • ณัฐวัฒน์ บัวทอง วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 319 ถนนไทยพันทา ตำบลโพธ์ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000

คำสำคัญ:

ปล่อยตัวชั่วคราว, ผู้ต้องหา, ชั้นสอบสวน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน และความมายของการปล่อยตัวชั่วคราว เพื่อศึกษาศึกษาฎหมายเกี่ยวกับการปล่อยตัวชั่วคราวของผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวน และเพื่อเสนอแนะแนวแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปล่อยตัวชั่วคราวของผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวน

            ผลการวิจับพบว่า มีประเด็นปัญหาเกี่ยวกับการปล่อยตัวชั่วคราวของผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวน ดังนี้ ปัญหาการสั่งปล่อยตัวชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวน และปัญหาการอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวน

            ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะแนวทางแก้ไขที่ได้จากการวิจัย โดยควรมีการแก้ไขให้พนักงานสอบสวนเจ้าของสำนวนเป็นผู้เสนอความเห็น ให้หัวหน้าพนักงานสอบสวน (ไม่ใช่หัวหน้าสถานี) เพื่อพิจารณาสั่งคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราว และควรมีการแก้ไขกฎหมายให้ผู้ต้องหาหรือผู้มีส่วนได้เสียกับผู้ต้องหามีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวได้

References

การุณ ตั้งเจริญกิจสกุล. (2563). การปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีหลักประกัน : ศึกษากรณีตามประมวลกฎหมาย

วิธีพิจารณาความอาญามาตรา 110 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฉัตรชัย ตังคณานุกูลชัย. (2549). การประกันตัวในคดีอาญา : ศึกษาเฉพาะกรณีการประกันภัยอิสรภาพ

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

คนึง ฦาไชย. (2530). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1. มิตรนราการพิมพ์.

ประเทือง กีรติบุตร. (2521). คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม 1. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย

รามคำแหง.

สุขุมาลย์ สุโขบล. (2527). การประกันในชั้นสอบสวน : ศึกษาในแง่การใช้ดุลยพินิจเจ้าพนักงานในทางปฏิบัติ

วิเคราะห์ตามแนวทางสังคมศาสตร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรินทร์ มากชูชิต. (2555). ระบบปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา: ศึกษาการใช้หลักประกันในคดีอาญา

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา.

คำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ 419/2556 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เรื่อง การอำนวยความยุติธรรม

ในคดีอาญา การทำสำนวนการสอบสวนและมาตรการควบคุม ตรวจสอบเร่งรัดการสอบสวนคดีอาญา.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-30

How to Cite

บัวทอง ณ. . (2025). ปัญหาในการปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2(1), 16–32. สืบค้น จาก https://so17.tci-thaijo.org/index.php/sisaketlawjournal/article/view/1220