ความผูกพันที่มีต่อองค์การของพนักงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

Main Article Content

อุมาพร อินทนิล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออภิปรายเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความผูกพันที่มีต่อองค์การ  โดยใช้วิธีการตรวจสอบและสังเคราะห์งานการศึกษาก่อนหน้า มาใช้ในการอภิปรายครั้งนี้ ประกอบด้วย แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การ ได้แก่ (1) ความหมายของความผูกพันต่อองค์การ  (2) ทฤษฎีเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การ และกล่าวถึงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงาน ได้แก่ (1) ความหมายของแรงจูงใจ (2) ประเภทหรือองค์ประกอบของแรงจูงใจ (3) ความสำคัญของแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน (4) ความสำคัญของความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน  (5) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ทั้งความผูกพันที่มีต่อองค์การและปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานจะถูกนำมาใช้เป็นกรอบทางความคิดในงานวิจัยเกี่ยวกับความผูกพันที่มีต่อองค์การกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กองบัญชาการศึกษา. (ม.ป.ป.). สืบค้น 24 กุมภาพันธ์ 2563. จาก https://edupol.org/eduOrganize (/eLearning/generalStaff/doc/group15/01/02.pdf.

กานดา จันทร์แย้ม. (2546). จิตวิทยาอุตสาหกรรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

จารุณี ธรนิตยกุล. (2541). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของหัวหน้างานกับความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การของผู้ใต้บังคับบัญชา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

โชติกา ระโส.(2555).แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ (ปริญญานิพนธ์ กศ.บ.) (การอุดมศึกษา).กรุงเทพบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ฐิติวัชร์ ธรรมโชติวรศิริ. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสายช่างบริษัทซ่อมบำรุงขนาดเล็กที่ให้บริการในโรงงานผลิตปูนซีเมนต์ขนาดใหญ่เขตอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี. การประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการ ระดับชาติและนานาชาติประจำปี 2558, 502-506.

ธีระ วีรธรรมสาธิต. (2532). ความผูกพันต่อองค์การ: ศึกษาเฉพาะกรณีผู้บริหารระดับหัวหน้า แผนกเทียบเทาของเครือซีเมนต์ไทย. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

นวพร อัมพวา; และคณะ. (2556). การศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานและความผูกพันต่อองค์การ. การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์,2-18.

ภรณี กีรติบุตร. (2529).การประเมินประสิทธิผลขององค์การ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

วันชัย มีชาติ. (2548).พฤติกรรมการบริหาร องค์การสาธารณะ.กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2561). แรงจูงใจ. วันที่สืบค้น 29 มีนาคม 2563, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/แรงจูงใจ

ศักรินทร์ นาคเจือ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศและพลังงานทหาร.การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

สมใจ ลักษณะ. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.

เสนาะ ติเยาว์. (2546). หลักการบริหาร. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อิศเรศ รุ่งณรงค์รักษ์. (2541). ความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษาพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน). ภาคนิพนธ์บริหารศาสตรมหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

เอื้อมพร แอ่มไร่. (2546). ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร : กรณีศึกษาบริษัท ซีบา สเปลเซียลตีเคมิคอลส์ อินดัสตรีส์ จํากัด (มหาชัย). ภาคนิพนธ์ บธ.บ. (การบริหารธุรกิจ). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Allen, N. J. , & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance, And normative commitment to the organization. Journal Of Occupational Psychology,63(10), 1-18.

Grusky, O. (1966). Career Mobility and Organizational Commitment. Administrative Science Quarterly. 10 (March), 488 – 503.

Kanter, R.M. (1968). Commitment and Social Organization : A Study of Commitment Mechanisms in Utopian Communities. American Sociological Review.33(4), 499-517.

Mowday, T.R., Porter, W.L. & Steers, R.M. (1982). Employee-Organization Linkages The Psychology of Commitment, Absenteeism, and Turnover. New York : Academic Press.

Porter, Lyman. and Steer, Richard M. 1974. Organizational Work and Personal Factors in Turnover and Absenteeism. Psychological Bulletin, 80(1), 603-609.

Steers, R.M. (1977). “Antecedents and Outcomes of Organizational Commitment.” Administrative Science Quarterly, 22, 46-56.

Sheldon, M. E. (1971). Investments and Involvement as Mechanisms Producing Commitment to the Organization. Administrative Science Quarterly. 16, 2 (June): 143-150

Vroom, H Victor. (1964). Work and Motivation. Now York : Wiley and Sons Inc.