การยอมรับนวัตกรรมและทัศนคติต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภค ในเมืองฉินหวงต้าว สาธารณรัฐประชาชนจีน
คำสำคัญ:
การยอมรับ, ทัศนคติ, การตัดสินใจซื้อ , รถยนต์ไฟฟ้าบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ความสัมพันธ์ระหว่างการยอมรับนวัตกรรมกับการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในเมืองฉินหวงต้าว และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติกับการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในเมืองฉินหวงต้าวการวิจัยนี้เป็นเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ผู้บริโภคในเมืองฉินหวงต้าว ที่มีประสบการณ์หรือเคยตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า แต่ไม่สามารถทราบจำนวนที่แน่นอนได้ จึงคำนวณกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยโดยใช้สูตรของคอแครน จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า (1) การยอมรับนวัตกรรมด้านการรับรู้มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนการยอมรับนวัตกรรมด้านการสนใจ ด้านการประเมินค่า ด้านการทดลอง และด้านการยอมรับไม่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า และ (2) ทัศนคติด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้สึก และด้านพฤติกรรมมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า ทุกด้าน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
Ambak, K.; et al. (2016). Driver Intention to Use Electric Cars Using Technology Acceptance Model. Smart Driving Research Centre, UniversitiTun Hussein Onn Malaysia.
Barnett, H. G. (1953). Innovation: The basis of culture change. New York: MC Graw-Hill.
Carter Good. (1959). Promotion and Intergraded Marking Communications. Ohio : South-Western.
Belch, G.E., and Belch, M.A. (2004). Advertising and Promotion: An Integrated. Marketing Communications Perspective. 6th ed. Boston: McGraw-Hill.
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. 3rd ed., John Wiley & Sons, New York.
Damanpour, F. (1991). Organizational Innovation a Meta-Analysis of Effects of Determinants and Moderators. The Academy of management Journal, 34(3), 555-590.
Duncan, T. R. (2002). IMC: Using Advertising and Promotion to Build Brands. New York: McGraw-Hill.
Emsenhuber, E.-M. (2012). Determinants of the acceptance of electric vehicles (Master's thesis). Department of Business Administration. Aarhus University.
Foley, B.; et al. (2020). Factors Affecting Electric Vehicle Uptake: Insights from a Descriptive Analysis in Australia. Urban Sci. 2020, 4,https://doi.org/10.3390/urbans ci4040057.
Godes et al. (2005). The Firm’s Management of Social Interactions. Marketing Letters, 16(3), 415–428.
Gordon Allport. (1975). The Nature of Prejudice 25th Anniversary Edition. New York : Ingram Publisher Services.
Harkema, S. (2003). A Complex Adaptive Perspective on Learning within Innovation Projects. The Learning Organization, 10(6), 340-346.
Howard; and Kendler. (1963). Psychology : A Science in Conflict. Boston: Mc Graw Hill.
Jabeen, F.; et al. (2012). Acceptability of electric Vehicles: Findings from a Driver Survey. School of Electrical and Computer engineering, University of Western Australia.
Jenn, A.; Springel, K.; & Gopal, A. R. (2018). Effectiveness of electric vehicle incentives in the United States.
Energy Policy. 119: 349-356.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 JSBM

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความแสดงลิขสิทธิ์
© [ปีปัจจุบัน] วารสารนวัตกรรมและการจัดการธุรกิจอย่างยั่งยืน สงวนลิขสิทธิ์
บทความ ข้อมูล และเนื้อหาทั้งหมดที่เผยแพร่ในวารสารนี้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาของผู้เขียนและวารสาร ห้ามทำซ้ำ คัดลอก ดัดแปลง หรือเผยแพร่ซ้ำไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกองบรรณาธิการ
ความคิดเห็นและข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน มิได้สะท้อนถึงทัศนะหรือจุดยืนของวารสาร บรรณาธิการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หากต้องการนำเนื้อหาไปใช้อ้างอิง กรุณาระบุแหล่งที่มาให้ถูกต้อง และหากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้เนื้อหาภายในวารสาร กรุณาติดต่อกองบรรณาธิการ