คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง

ผู้แต่ง

  • วิชชุตา พิมพ์สกุล

คำสำคัญ:

คุณภาพ, ธาราบำบัด, เทศบาล

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง และ เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง โดยจำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ การเข้าใช้บริการธาราบำบัด รายได้ เขตที่อยู่อาศัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ประชาชนที่เป็นสมาชิกของศูนย์ธาราบำบัดเทศบาลเมืองบ้านบึง จำนวน 204 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation : S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง พบว่า โดยภาพรวมระดับคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง อยู่ในระดับคุณภาพมากที่สุดทุกด้าน โดยด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ มีคุณภาพในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ และ ด้านการรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง โดยจำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ การเข้าใช้บริการธาราบำบัด รายได้ เขตที่อยู่อาศัย พบว่า เพศหญิง มีอายุ 61 ปี ขึ้นไป สถานภาพสมรส ไม่ประกอบอาชีพ,แม่บ้าน เข้าใช้บริการธาราบำบัด ตั้งแต่ 8 ครั้งขึ้นไป รายได้ 10,000 บาท หรือไม่ต่ำกว่า อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองบ้านบึง มีความคิดเห็นว่าศูนย์ธาราบำบัดเทศบาลเมืองบ้านบึง มีคุณภาพการให้บริการในระดับมากที่สุด

References

โกวิทย์ พวงงาม. (2550). มิติใหม่การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จุฑามาส โกยทา. (2558). คุณภาพการให้บริการของบริษัท โตโยต้าพีเอส เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2551). ตำราขั้นสูงทางระเบียบวิธีวิทยาการวิจัย หลักและวิธีการประมวลเอกสารเพื่อความเป็นเลิศในการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: เอ.ที พริ้นตั้ง.

เด่นหล้า ปาลเดชพงศ์. (2552). ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

การออกกำลังกายในน้ำทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพ. เวชบันทึกศิริราช.

ณัฐวุฒิ วงษ์สิงห์. (2553). คุณภาพการให้บริการของศูนย์แพทยศาสตรศึกษา โรงพยาบาลสรรพรสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี.

เทพศักดิ์ บุญรัตนพันธ์. (2558). ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5 : รัฐประศาสนศาสตร์ กับการให้บริการสาธารณะ.กรุงเทพฯ.

ธนภณ พรมยม. (2552). ความพึงพอใจของญาติผู้ป่วย ที่มีต่อคุณภาพการบริการทางกายภาพบำบัดของโรงพยาบาลอ่างทอง. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุญเรือง โพธิ์นิล. (2550). คุณภาพการให้บริการสาธารณะของกองช่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เบญญ์จพิศ หวลกาพย์. (2557). ประสิทธิภาพในการให้บริการงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลลำพูน อำเภอเมืองลำพูน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ปณิธี ปานขำ. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการบริการของพยาบาล โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กร,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ประพันธ์ พงศ์คณิตตานนท์. (2550). การดูแลผู้ป่วย ปวดหลัง ปวดเอวด้วย การแพทย์ผสมผสาน .กรุงเทพมหานคร, ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

ประภาส โพธิ์ทองสุนันท์. (2530). ธาราบําบัด. เชียงใหม่: คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปุญญิศา โสรัส. (2556). การให้บริการร้านคุ้มเงินวารีบำบัดในทัศนะของลูกค้า. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

พัชรี อิ่มอาบ. (2553). คุณภาพการให้บริการตรวจสุขภาพของโรงพยาบาลหัวเฉียว. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

วนิดา เนื่องอุดม. (2550). รายงานการวิจัย: การประเมินนโยบายการประหยัดพลังงานไฟฟ้า

ของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วสุ ธีระวานิช. (2551). ความพึงพอใจของผู้รับบริการศูนย์สุขภาพชุมชน อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

วิไลลักษณ์ โตโคกสูง. (2553). คุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎร ของสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลองค์รักษ์ อำเภอองค์รักษ์ จังหวัดนครนายก. การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วิมลรัตน์ หงส์ทอง. (2555). ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการลูกค้า ธนาคารออมสิน สาขาวัชรพล. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี.

วิลาสิณีย์ จำปาดะ. (2551). ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการจากสถานปฏิบัติการเภสัชชุมชน. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศราวุธ นิลศร. (2555). ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการจากสถานบริการการแพทย์แผนไทย กรณีศึกษา: สถานบริการสาธารณสุขของรัฐภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะบริหารศาสตร์, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ศิริรัตน์ ทองเรือง. (2555). การรับรู้คุณภาพการบริการของผู้รับบริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในอำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2550). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

สมชาย รัตนทองคํา. (2540). คู่มือการออกกําลังกายในสระน้ำ. ขอนแก่น: ภาควิชา กายภาพบําบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมวงศ์ พงศ์สถาพร. (2550). เคล็ดไม่ลับการตลาดบริการ พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ยูบีซีแอล บุ๊คส์.

สิทธิพร มูลศรี. (2553). การพัฒนาคุณภาพการให้บริการของกองช่างเทศบาลเมือง หนองบัวลำภู. รายงานการศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุกัญญา มีสามเสน. (2556). คุณภาพการบริการของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

เสาวรีย์ บุญสา และคณะ. (2559). รายงานการวิจัย: การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลวังดิน อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน. ลำพูน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

อรุณีย์ โรจนไพบูลย์. (2561). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน.ศูนย์การศึกษาบึงกาฬ, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

อาภา ชัยเสนา. (2557). ความคิดเห็นของนิสิตต่อคุณภาพการให้บริการของเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

อำนวย บุญรัตนไมตรี. (2558, กรกฎาคม-ธันวาคม). การบริหารงาน บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีการบริหารเทศบาล ตามมาตรฐานการจัดทำบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐาน. วารสารมนุษย์สังคมปริทัศน์, 17(2), 93-108.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560). การปกครองส่วนท้องถิ่น.

เข้าถึงได้จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF

Kotler, P. (2000). Marketing management: Analyzing consumer marketing and buyer behavior

(The Millennium). New jersey: Prentice Hall.

Parasuraman, A., Valarie A. Zeitham, Z., Leonard, L. (1990). Berry. delivery quality service:

Balancing Customer Perception and Expectations. New York: Free Press .

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. (1988). Delivery Quality Service: Balancing

Customer Perceptions and Expectations: New York: Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05-06-2024