การวิเคราะห์คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ที่ปรากฏในวรรณกรรมเยาวชน “เมดูซา ...ของขวัญจากสายน้ำ”
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ที่ปรากฏ
ในวรรณกรรมเยาวชน “เมดูซา...ของขวัญจากสายน้ำ” วิเคราะห์และและตีความหมายจากแนวคิดหลักของวรรณกรรม โดยใช้คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ของกระทรวงศึกษาธิการเป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า วรรณกรรมเยาวชน “เมดูซา...ของขวัญจากสายน้ำ” ปรากฏคุณธรรมพื้นฐานทั้ง 8 ประการ ประกอบด้วย ความมีน้ำใจ ความสามัคคี ความมีวินัยความสุภาพ ความขยัน ความซื่อสัตย์ ความประหยัด และความสะอาด ตามลำดับ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
การอนุญาตลิขสิทธิ์
การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ หรือสิ่งอื่นใดของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้รายใดมีความต้องการที่จะอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังข้อความทั้งหมดของบทความ รวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใดเป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้ แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจ บทความทุกฉบับที่ถูกเผยแพร่ในวารสารวิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนจะเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า (Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License: https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/)
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). 8 คุณธรรมพื้นฐาน. https://www.moe.go.th/๘-คุณธรรมพื้นฐาน/
ณัฐทพัสส์ อินทร์ศวร และทัศนา สลัดยะนันท์. (2558). การวิเคราะห์วรรณกรรมสำหรับเด็กไทยวัย 6-12 ปี ที่มีเนื้อหาด้านคุณธรรมและจริยธรรม. วารสารสารสนเทศศาสตร์. 33(1), 1-16.
ดวงมน จิตร์จำนงค์. (2561). หลังม่านวรรณศิลป์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สัมปชัญญะ.
ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ. (2555). คำนิยม. ใน วีรวิท คงศักดิ (รวบรวม). คุณธรรมกับสังคมไทย. (น. 14-15). สำนักพิมพ์บริษัท แว่นแก้ว เอ็ดดูเทนเมนท์จำกัด.
พรพิทักษ์ เห็มบาสัตย์ และวรรณพล พิมพะสาลี. (2563). แนวทางการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง. 9(2), 63-80.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). การเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย. โรงพิมพ์เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2542). เพื่ออนาคตของการศึกษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). สหธรรมิก.
พัชรพร สาลี. (2560). กลวิธีสื่อคุณธรรมและจริยธรรมในนวนิยายเยาวชนที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม (พ.ศ. 2556-2557) [วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พัทธนันท์ พาป้อ และปพิชญา พรหมกันธา. (2564). คุณธรรมที่ปรากฏในวรรณกรรมเยาวชน เรื่อง “หมูบินได้”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. 17(2), 73-88.
ภาณุมาศ ภูมิถาวร. (2550). เมดูซา...ของขวัญจากสายน้ำ. สำนักพิมพ์มิ่งมิตร.
มานพ ถนอมศรี. (2546). การเขียนหนังสือสารคดี บันเทิงคดีสำหรับเด็กและเยาวชน. สิปประภา.
ศรัณยพงศ์ โชติวรรณ์. (2561). การส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรมด้านความซื่อสัตย์:การวิเคราะห์คุณค่าวรรณกรรมไทย [วิทยานิพนธ์นี้ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาพร สุขสวัสดิ์. (2552). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรี [การค้นค้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.