การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว ตามเเนวคิดทฤษฎีของ วาโร เพ็งสวัสดิ์ การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว

Main Article Content

พรฟ้า สุทธิคุณ

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว ตามเเนวคิดทฤษฎีของ วาโร เพ็งสวัสดิ์ เส้นทางท่องเที่ยว (Tourism Route) เป็นแนวทางการสัญจรที่กำหนดขึ้นสำหรับนักท่องเที่ยว เพื่อให้สามารถพบเห็น หรือเข้าชมแหล่งท่องเที่ยวและจุดที่น่าสนใจต่าง ๆ ได้ง่ายสะดวก ปลอดภัย ได้รับความรู้และความเพลิดเพลินจากการใช้เส้นทางที่จัดทำขึ้น ซึ่งเส้นทางสำหรับนักท่องเที่ยวอาจเป็นการใช้เส้นทางร่วมกับเส้นทางสัญจรปกติของคนท้องถิ่น หรืออาจเป็นการกำหนดเส้นทางขึ้นมาใหม่เฉพาะเป็นพิเศษสำหรับนักท่องเที่ยวก็ได้ โดยกระบวนการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวตามแนวคิดของวาโร เพ็งสวัสดิ์ (2552) ประกอบด้วยขั้นตอน
การวิจัยและพัฒนา 4 ขั้น ได้แก่ การสำรวจ สังเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ การสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวนั้นต้องมีการสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว การออกแบบพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว การทดลองใช้เส้นทางการท่องเที่ยว  และการเผยแพร่ผลิตภัณฑ์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Chantouch Wanthanom. (2011). Planning and organizing tour guides. BANGKOK: Sam Lada.

Genus Jariya Chaemasit and Guin Wongladee. (2012). A Study on the Tourism Routes of Malaysian Tourists in Thailand: A Case Study in Hat Yai District, Songkhla Province. Suan Sunandha Rajabhat University.

Panuwat Kaimook. (2022). Routing for tourism programs in Chiang Rai province by applying the travel problem of salespeople. The thesis of Master of Business Administration Program in Logistics Management and International Supply Chain, Mae Fah Luang University.

Pitoon Thongchim. (2022). Tourism Pattern of the Historic Routes Retracing The King Rama IX develops a Sustainable Tourism in Songkhla. 13th National and International Beach Conference. P.2670-2681.

Prasit Kunurat and colleagues. (2003). (Draft) Summary report for executives, sub-research plans on education and exploration of tourism routes in the Northeast. (Copy document).

Purivat Dechaum and his team. (2019). Complete Research Report, Research Plan for Slow Tourism Capacity Development in Chainat Province. Office of Research Fund and Support (SEC).

Siriphen Dabpetch. (2017). Establishment of tourism routes in the lower northern provinces 1 from the tourism behaviour of Thai tourists. Journal of Social Sciences, Srinakharinwirot University, Year 18 (January - December 2015). 226-246.

Thanapha Chuaykaew and Sudjai Jirojkul. (2019). Development of cultural tourism routes along the Pak Phanang River to promote tourism marketing in Pak Phanang District, Nakhon Si Thammarat Province. Journal of Academic Services, Prince of Songkla University, 30(3), 80-97.

Varopengsawat. (2013). Research and development. Creative Science, 1(2), 1–12. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/snru_journal/article/view/10186

Vipawan Pinkaew. (2008). Ecotourism guidelines in Mueang District, Phetchaburi Province. Master's degree thesis, Srinakharinwirot University.