การออกแบบกิจกรรมส่งเสริมความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ การแก้ปัญหาของผู้เรียนตามแนวคิดการสืบเสาะหาความรู้และบอร์ดเกม

Main Article Content

กฤษณวงศ์ รอบรู้
อุบลวรรณ เลี้ยวอุดมชัย
คณิสร ต้นสีนนท์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การหายในระดับเซลล์ ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้บอร์ดเกมเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักเรียน และ 2) สร้างบอร์ดเกมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การหายในระดับเซลล์ ตามแนวคิดการสืบเสาะหาความรู้ การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การประชุมผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องแลพเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้และบอร์ดเกม วิธีการเชิงปริมาณใช้แบบประเมินความเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน เป็นผู้ประเมิน ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ มี 5 ขั้นตอน ตามรูปแบบการสอนแบสืบเสาะหาความรู้ (5E) และระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้รวม 6 ชั่วโมง และ 2) บอร์ดเกมมีความเหมาะสมระดับมากมาก (M=4.08, SD=0.45) และผลการหาคุณภาพของบอร์ดเกมด้านเทคโนโลยี พบว่า บอร์ดเกมมีความเหมาะสมระดับมาก (M=4.13, SD=0.47)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Galos, R. S. (2022). Science Learning Activity Packets (SciLAPs) on the Assessment of Learning Performance. International Journal of Research Publication and Reviews, 3(7), 1800-1810.

Mackay, H. A. (2013). Developing syntactic repertoires: Syntheses of stimulus classes, sequences, and contextual control. European Journal of Behavior Analysis, 14, 69-85.

Play Academy. (2017). Logical & Critical Thinking. https://drive.google.com /file/d/0B98OD.

Somsuan. (2022). บอร์ดเกม Cellular respiration. https://inskru.com/idea/-M2o9lxUNTqYIYv4LBVM.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. https://academic.obec.go.th/images/document/ 1559878925_d_1.pdf

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1. https://www.scimath.org/ ebook-biology/item/8416-2-2560-2551.

ชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ช่อผกา สุขุมทอง.(2563). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)ร่วมกับเกมวิทยาศาสตร์เรื่องการเปลี่ยนแปลงของโลกระดับประถมศึกษา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์, สมเชาว์ เนตรประเสริฐ, และ สุดำ สินสกุล. (2520). ระบบสื่อการสอน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). 80 นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (พิมพ์ครั้งที่ 3). แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (พิมพ์ครั้งที่ 6). พี บาลานซ์ดีไซด์แอนปริ้นติ้ง.

ดนัยศักดิ์ กาโร. (2562). ปฏิวัติการสอนสู่ห้องเรียน 4.0 ด้วย GOOGLE FOR EDUCATION. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์.

ทิศนา แขมมณี . (2553). ศาสตร์การสอน. องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นันทิยา บุญเคลือบ. (2540). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด Constructivism. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2567). ความฉลาดรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์. https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/scientific-literacy/

สาอาดะฮ์ หมุนนุ้ย และน้ำเพชร นาสารีย์.(2566). การศึกษาผลการใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการใช้เกมกระดาน เรื่อง ดาวในระบบสุริยะ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอธิบายปรากฏการณ์เชิงวิทยาศาสตร์ ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต] มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สิริพัชร เจริญชัย. (2563). การศึกษาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาตามทักษะ การเรียนรู้และนวัตกรรมเรื่องพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัญฑิต]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.