รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษาทุนนวัตกรรม สายวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยชุมชนแพร่ รูปแบบ, การบริหาร, คุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษา

Main Article Content

มนัส จันทร์พวง
บุญญพัฒน์ นามวงค์พรหม
วิยะณี ดังก้อง
กิตติพร สังคดิส
พงศธร กันทะวงค์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบการพัฒนารูปแบบการบริหาร          เพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษาทุนนวัตกรรมสายวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยชุมชนแพร่ โดยผลการวิเคราะห์พบว่า รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษาทุนนวัตกรรมสายวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยชุมชนแพร่ มีจำนวน 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยนำเข้า (Input) ประกอบด้วย 1) การกำหนดนโยบาย 2) คณะดำเนินงาน 3) งบประมาณ และ 4) ภาคีเครือข่ายแหล่งเรียนรู้ในชุมชน องค์ประกอบที่ 2 ด้านกระบวนการ (Process) โดยใช้กระบวนการการคิดเชิงออกแบบ Design Thinking ประกอบด้วย 1) ขั้นที่ 1 เอาใจใส่ (Empathize) 2) ขั้นที่ 2 ระบุปัญหา (Define) 3) ขั้นที่ 3 นำไอเดียมาสร้างสรรค์ (Ideate) 4) ขั้นที่ 4 สร้างต้นแบบ (Prototype) 5) ขั้นที่ 5 ทดสอบ (Test) และ 6) นำไปดำเนินการ (Implement) องค์ประกอบที่ 3 ด้านผลผลิต (Output) คุณลักษณะความเป็นนวัตกร “Smart Farmer 4.0” ประกอบด้วย 1) Smart Thinking: ทักษะการคิด 2) Smart Farm: ทักษะเทคโนโลยี IOT 3) Digital Market: การตลาดดิจิทัล และ 4) Net Work: จิตอาสาชุมชน จากผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการภายใต้รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษาทุนนวัตกรรมสายวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยชุมชนแพร่ ส่งผลให้นักศึกษามีคุณลักษณะความเป็นนวัตกร “เป็นเกษตรกรตัวจริง ทำได้จริง อยู่รอด แข็งแรง เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในชุมชน” ซึ่งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทักษะในศตวรรษที่ 21 และตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0)

Article Details

How to Cite
1.
จันทร์พวง ม, นามวงค์พรหม บ, ดังก้อง ว, สังคดิส ก, กันทะวงค์ พ. รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษาทุนนวัตกรรม สายวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยชุมชนแพร่: รูปแบบ, การบริหาร, คุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักศึกษา. pngcc [อินเทอร์เน็ต]. 21 สิงหาคม 2024 [อ้างถึง 10 พฤษภาคม 2025];1(2):1-14. available at: https://so17.tci-thaijo.org/index.php/pngcc/article/view/232
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภา

การศึกษา.

กัญญาบุตร ล้อมสาย. (2552). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภา

การศึกษา.

ขนิษฐา ม่วงศรีจันทร์, ฉลอง ชาตรูประชีวิน และสถิรพร เชาวน์ชัย. (2566). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนา

คุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา. วารสารสันติศึกษา

ปริทรรศ์ มจร, 11(2), 531-542

จิติมา วรรณศรี. (2557). นวัตกรรมสู่การพัฒนาสถานศึกษา. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณ การพิมพ์.

นครินทร์ นวกิจไพบูรณ์. (2562). 7 วิธีปลดล็อกความคิดสร้างสรรค์ในตัวคุณกับ Tom Kelley เจ้าพ่อ Design

Thinking ผู้เขียน Creative Confidence. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2566, จาก

https://thestandard.co/podcast/thesecretsauce89/

นริศรา ตาปราบ. (2562). รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนในโรงเรียนเอกชน

จังหวัดชัยภูมิ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2561). การพัฒนากลไกขับเคลื่อนระบบผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับ

ประเทศไทย 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

พัชรินทร์ โคตรสมบัติ. (2558). การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทาง

การศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พิเชษฐ ยังตรง. (2560). กลยุทธ์การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ในศตวรรษที่ 21 (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2554). CCPR กรอบคิดแนวใหม่ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ภานนท์ คุ้มสุภา. (2559). นวัตกรท้องถิ่นรุ่นใหม่กับการแพร่กระจายนวัตกรรมสู่ชุมชน. วารสารนิเทศ

ศาสตร์ธุรกิจบัณฑิต, 13(2), 258-299.

มลธิชา กลางณรงค์. (2562). การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนเลิศหล้า สาขาถนน

เกษตร-นวมินทร์ ตามแนวคิดคุณลักษณะของครูนวัตกร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ศุภมาศ ช่างมี. (2562). รูปแบบการบริหารเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สาลินี อุดมผล. (2562). หลักสูตรเชิงพื้นที่สำหรับพัฒนานวัตกรสู่การพัฒนานวัตกรรมด้านการบริหาร จัดการ

โรงเรียนทั้งระบบโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน จังหวัดกาญจนบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต).

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ:

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-

. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล มธุรส และคณะ. (2562). การศึกษาไทย 4.0 ในบริบทของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารวิทยาลัยสงฆ์

นครลำปาง, 8(2), 266-278.